ราชกิจจานุเบกษาประกาศขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ 68 แห่ง 367 รายการ

27 มิ.ย. 2565 | 19:35 น.
อัปเดตล่าสุด :28 มิ.ย. 2565 | 02:42 น.

ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศกรมศิลปากร ขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ ที่มิได้อยู่ในความครอบครองของกรมศิลปากร รวม 68 แห่ง จํานวน 367 รายการ

วันนี้ (27 มิ.ย.65) เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ


อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ จึงประกาศขึ้นทะเบียน โบราณวัตถุและศิลปวัตถุ ที่มิได้อยู่ในความครอบครองของกรมศิลปากร รวม ๖๘ แห่ง จํานวน ๓๖๗ รายการ ดังรายละเอียดและภาพถ่ายที่แนบท้ายประกาศนี้
 

๑. วัดชลประทานรังสรรค์ เลขที่ ๓๑๑ หมู่ ๓ ถนนเทศบาล ๗ ตําบลสามเงา อําเภอสามเงา จังหวัดตาก จํานวน ๒๘ รายการ

 

๑.๑ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ปิดทองประดับกระจก ขนาดสูง ๑๐๘ เซนติเมตร กว้าง ๔๖.๕ เซนติเมตร ยาว ๘๐ เซนติเมตร

๑.๒ ขันดอก ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรักทาชาด เขียนลายทองประดับกระจก ขนาดสูง ๕๑ เซนติเมตร กว้าง ๔๕ เซนติเมตร ยาว ๔๕ เซนติเมตร

 

๑.๓ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทอง ขนาดสูง ๑๐๙.๗ เซนติเมตร กว้าง ๔๔ เซนติเมตร ยาว ๒๙.๕ เซนติเมตร

 

๑.๔ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทอง ขนาดสูง ๑๐๘ เซนติเมตร กว้าง ๕๕ เซนติเมตร ยาว ๒๔ เซนติเมตร

 

๑.๕ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาด ขนาดสูง ๕๕ เซนติเมตร กว้าง ๕๒.๓ เซนติเมตร ยาว ๗๔.๕ เซนติเมตร

 

๑.๖ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ทาชาด ปิดทอง ขนาดสูง ๑๐๗ เซนติเมตร กว้าง ๔๓.๕ เซนติเมตร ยาว ๗๕ เซนติเมตร

 

๑.๗ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ทาชาด ปิดทอง ขนาดสูง ๑๑๘ เซนติเมตร กว้าง ๕๓.๘ เซนติเมตร ยาว ๔๐ เซนติเมตร

 

๑.๘ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ทาชาด เขียนสีปิดทอง ขนาดสูง ๑๑๘ เซนติเมตร กว้าง ๔๔.๕ เซนติเมตร ยาว ๗๕ เซนติเมตร

 

๑.๔ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทองประดับกระจก ขนาดสูง ๑๒๖ เซนติเมตร กว้าง ๕๖ เซนติเมตร ยาว ๘๖.๕๖ เซนติเมตร

 

๑.๑๐ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทอง ขนาดสูง ๑๑๗.๕ เซนติเมตร กว้าง ๕๔ เซนติเมตร ยาว ๗๓ เซนติเมตร

 

๑.๑๑ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ปิดทอง ขนาดสูง ๑๒๑ เซนติเมตร กว้าง ๕๓ เซนติเมตร ยาว ๘๑ เซนติเมตร

 

๑.๑๒ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทอง ขนาดสูง ๑๑๗.๕ เซนติเมตร กว้าง ๕๔.๕ เซนติเมตร ยาว ๘๕.๕ เซนติเมตร

 

๑.๑๓ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทอง ขนาดสูง ๔๗ เซนติเมตร กว้าง ๗๗ เซนติเมตร ยาว ๑๖๙.๕ เซนติเมตร

 

๑.๑๔ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทอง ขนาดสูง ๔๔.๕ เซนติเมตร กว้าง ๔๔ เซนติเมตร ยาว ๗๔.๕ เซนติเมตร

 

๑.๑๕ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทอง ขนาดสูง ๔๗ เซนติเมตร กว้าง ๔๖.๕ เซนติเมตร ยาว ๗๒ เซนติเมตร

 

๑.๑๖ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทองประดับกระจก ขนาดสูง ๑๐๖ เซนติเมตร กว้าง ๓๗.๕ เซนติเมตร ยาว ๖๑.๕ เซนติเมตร

 

๑.๑๗ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทองประดับกระจก ขนาดสูง ๑๐๖ เซนติเมตร กว้าง ๓๒๗ เซนติเมตร ยาว ๖๑ เซนติเมตร

 

๑.๑๘ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทองประดับกระจก ขนาดสูง ๑๐๖ เซนติเมตร กว้าง ๔๐ เซนติเมตร ยาว ๒๔ เซนติเมตร มีจารึกอักษรธรรมล้านนา ภาษาไทย ที่ตัวหีบ จํานวน ๑ บรรทัด ระบุผู้สร้าง

 

๑.๑๙ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ปิดทอง ขนาดสูง ๗๖.๕ เซนติเมตร กว้าง ๔๘ เซนติเมตร ยาว ๒๒.๕ เซนติเมตร

 

๑.๒๐ หีบพระธรรม ศิลปะล้านนา ฝีมือช่างพื้นถิ่น พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ชนิดไม้ลงรัก ทาชาดปิดทองประดับกระจก ขนาดสูง ๔๔.๕ เซนติเมตร กว้าง ๕๐ เซนติเมตร ยาว ๔๖ เซนติเมตร

 

๑.๒๑ พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ชนิดสําริดปิดทอง ขนาดสูงรวมฐาน ๔๕ เซนติเมตร ตักกว้าง ๒๒ เซนติเมตร ฐานกว้าง ๒๘ เซนติเมตร ฐานสูง ๑๓ เซนติเมตร

 

๑.๒๒ พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ชนิดสําริดปิดทอง ขนาดสูงรวมฐาน ๗๔๕ เซนติเมตร ตักกว้าง ๔๐ เซนติเมตร ฐานกว้าง ๔๖.๕ เซนติเมตร ฐานสูง ๑๔ เซนติเมตร

 

๑.๒๓ พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะอยุธยา พุทธศตวรรษที่ ๒๒ ชนิดสําริด ขนาดสูง รวมฐาน ๖๒.๕ เซนติเมตร ตักกว้าง ๓๖ เซนติเมตร ฐานกว้าง ๔๘ เซนติเมตร ฐานสูง ๒๒.๕ เซนติเมตร

 

๑.๒๔ พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ชนิดสําริด ลงรักปิดทอง ขนาดสูงรวมฐาน ๕๐ เซนติเมตร ตักกว้าง ๒๘ เซนติเมตร ฐานกว้าง ๒๙๙ เซนติเมตร ฐานสูง ๔ เซนติเมตร 

                         ราชกิจจานุเบกษาประกาศขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ 68 แห่ง  367 รายการ   ราชกิจจานุเบกษาประกาศขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ 68 แห่ง  367 รายการ

 

คลิกดูเพิ่มเติม:  ขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ 68 แห่ง  367 รายการ