บทสวดมนต์ข้ามปี 2566 พร้อมความหมาย ถูกต้องตามแบบฉบับ

31 ธ.ค. 2565 | 08:32 น.
อัปเดตล่าสุด :31 ธ.ค. 2565 | 16:57 น.
4.5 k

บทสวดมนต์ข้ามปี 2566 พร้อมความหมายของแต่ละบท ครบถ้วน ถูกต้องตามแบบฉบับ เลือกสวดได้ตามความสะดวก เสริมสิริมงคลปีใหม่

สวดมนต์ข้ามปี 2566 ถือเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่ชาวพุทธหลายคนเลือกทำกิจกรรมนี้เพื่อส่งท้ายปีเก่า ก้าวเข้าสู่ปีใหม่ด้วยความเป็นสิริมงคล นอกเหนือจากกิจกรรมเคาท์ดาวน์ และงานเลี้ยงฉลองโดยทั่วไป

 

ทีมข่าวฐานเศรษฐกิจ จึงนำบทบทสวดมนต์ข้ามปี 2566 พร้อมความหมาย อย่างครบถ้วนถูกต้องตามแบบฉบับกรมการศาสนา มาให้ทุกคนได้นำไปเลือกสวดมนต์ข้ามปี กันตามความสะดวก

 

บทสวดมนต์ข้ามปี 2566 คืออะไร

  • บทสวดมนต์ข้ามปีนั้น ไม่มีกำหนด ที่แน่นอนชัดเจนลงไป สุดแท้แต่ความสะดวกและความเหมาะสมในแต่ละสถานที่ แต่ที่นิยมโดยทั่วไป จะเป็นการนำ พระพุทธพจน์อันเป็นคำสั่งสอน ของพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า มาเป็นบทสวดมนต์โดยถือกันว่า เป็นคำศักดิ์สิทธิ์ สามารถปัดป้องอันตรายต่าง ๆ ได้และเรียกกันอีกอย่างหนึ่งว่าพระปริตร

 

บทสวดมนต์ข้ามปี 2566

บทชุมนุมเทวดา

  • เป็นบทที่อัญเชิญเทวดามาร่วมฟังพระปริตร หรือมาร่วมในพิธีโดยขอให้เทวดามีความสุขปราศจากทุกข์ และช่วยคุ้มครอง มนุษย์ให้พ้นภัย

(7 ตำนาน)

สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทั้ง ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ

ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ

(12 ตำนาน)

                สะมันตา จักกะวาเฬส อัตราคัจฉันตุ เทวะตา สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ                          สุณันตุ สัคคะโมกขะทั่ง

 

(ต่อจากนี้ให้กล่าวเหมือนกันทั้ง 7 ตำนาน และ 12 ตำนาน)

สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสุขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา ติฏฐินตา สันติเก ยัง มุนิวะระจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ ฯ ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกะโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ

บทนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า

  • เป็นบทที่เริ่มต้นก่อนที่จะมีพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา เรียกกันโดยทั่วไปว่า บทไหว้ครูเป็นบทที่ถวายความเคารพ แด่พระพุทธเจ้า โดยกล่าว ๓ ครั้ง ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการทำใจ ให้แนบสนิทกับพระคุณจริง ๆ ไม่โยกโคลงกวัดแกว่งไปได้ง่าย ๆ เปรียบเหมือน เชือก ๓ เกลียว ย่อมจะแน่นและเหนียวกว่า ๑ เกลียว หรือ ๒ เกลียว

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ (3 จบ)

 

บทไตรสรณคมน์

  • เริ่มแรกเป็นบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้น ในพิธีบรรพชาอุปสมบท ต่อมาได้นำมาใช้ในการเริ่มต้นพิธีกรรมทางพุทธศาสนาทั่วไป เป็นบทที่แสดงถึงการยอมรับพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึก


พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระฆัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ

 

บทนมการสิทธิคาถา (สัมพุทเธ)

  • เป็นการกล่าวนอบน้อม พระพุทธเจ้า 3,584,192 พระองค์ และด้วยอานุภาพของการนอบน้อมก็ขอให้ภยันตราย ทั้งปวงจงพินาศไป

 

สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุภาเวนะ หันต์วา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุภาเวนะ หันต์วา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬิสะสะหัสสะเก วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุภาเวนะ หันต์วา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

บทมงคลสูตร

  • บทที่ว่าด้วยมงคล พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอน ถึงหลักธรรมที่นำ ความสุข ความเจริญ ซึ่งเรียกว่า มงคลอันสูงสุด ๓๘ ประการ เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามจะเป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ประสบความสำเร็จในทุกที่


(พะหูเทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสตถานัง พรูหิ มังคะละมุตตะมังฯ)

อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ

ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ

พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ

มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ

ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ

อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ๗. คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ

ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ

ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ

ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ

เอตาทิสานิ กัตวานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ ฯ

 

บทรตนสูตร

  • บทที่แสดงอานุภาพของพระรัตนตรัยโดยตรง เมื่อเทวดาและมนุษย์รู้คุณค่าของพระรัตนตรัย ยอมรับนับถือ บูชาพระรัตนตรัย เป็นที่พึ่งที่ระลึกแล้วย่อมก่อให้เกิดพลังใจในการต่อสู้ฟันฝ่าเพื่อชัยชนะ ต่ออุปสรรค ปัญหา ตลอดจนภัยทั้งหลายทั้งปวงได้

ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมปิ เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง

ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต

นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง สะมาธิมานันตะริกัญญะ

มาหุ สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณี ตัง

เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหน ติ

เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลา นิ

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะ นัมหิ

เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วินัยหะ ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมา นา อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัส มิง เต ขณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา นิพพันติ ธีรา ยะถามปะทีโป อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ


บทกรณียเมตตสูตร

  • บทที่ว่าด้วยการเจริญเมตตา พระพุทธเจ้าตรัสมุ่งหมายการแผ่จิตที่เกื้อกูล ปรารถนาดีให้แก่ตนเองและสรรพสัตว์ ปรารถนา ให้ตนเองและสรรพสัตว์ไม่มีเวรต่อกัน ไม่เบียดเบียนกัน มีแต่สุข ไร้ทุกข์ ปราศจาก ความขุ่นเคืองใจ ไร้พยาบาท

กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา

เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะซุกะกูลา ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา

นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง

เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรติฯ


บทขันธปริตร 

  • บทสวดป้องกันพญางู ส่วนสาเหตุ ที่ตั้งชื่อว่า ขันธปริตร นั้น อาจหมายถึง มนต์ป้องกันตัว (จากพญางู) ทั้งนี้เนื่องจาก ขันธ์ แปลว่า ตัว หรือกาย นั่นเอง ในปริตรนี้พระพุทธเจ้าตรัสสอน เรื่องเมตตากรุณา

วิรูปักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา

อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะห์ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง

 

บทโมรปริตร 

  • สำหรับป้องกันตัวของพญานกยูง กล่าวคือ เมื่อพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพญานกยูง ได้เจริญมนต์เป็นประจำ ทำให้แคล้วคลาดจากภยันตราย ดังนั้น โบราณาจารย์จึงได้นำมาเป็นบทสวดมนต์ เพื่อให้แคล้วคลาดจากอันตราย ปริตรนี้เป็นการกล่าวถึงการแสดงความนอบน้อม

อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา

หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส

ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง

ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง เย พราห์มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา อิมัง โส ปะริตตัง กัต์วา โมโร จะระติ เอสะนา

อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส

ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง เย พราห์มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา อิมัง โส ปะริตตัง กัต์วา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ

 

บทอาฏานาฏิยปริตร

  • บทนมัสการพระพุทธเจ้าในอดีต ทั้งหลายจนถึงองค์ปัจจุบัน ต่อจากนั้นก็บรรยายถึงท้าวมหาราชทั้ง ๔ ว่าใครเป็นอะไร มีหน้าที่อะไร และสุดท้าย ก็สรุปพระคุณของพระรัตนตรัย เชื่อกันว่า ผู้ใดสวด อาฏานาฏิยรักขาแล้ว บรรดายักษ์และภูตผีปีศาจทั้งหลายจะไม่ทำอันตราย และคุ้มครอง รักษาให้ปลอดภัย

วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต สิขิสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปิโน เวสสะภุสสะ นะมัตถุ น้ำหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พราห์มะณัสสะ วุสีมะโต กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สักยะปุตตัสสะ สิรีมะโต โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง เย จาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะสาระทา หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง (วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ)

 

บทโพชฌังคปริตร

  • บทที่ว่าด้วยองค์ธรรมที่เป็นไปเพื่อตรัสรู้ มี 7 ประการ คือ สติความระลึกได้ ,ธัมมวิจยะ ความสอดส่องธรรม ,วิริยะ ความเพียร ,ปีติความอิ่มเอมใจ ,ปัสสัทธิความสงบใจ , สมาธิความตั้งใจมั่น ,อุเบกขา ความวางเฉย

โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา วิริยัมปีติปัสสัทธิ โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร สะมาธุเปกขะโพชฌังคา สัตเตเต สัพพะทัสสินา มุนินา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลีกะตา สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธิยา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ

เอกัสมิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ เต จะ ตัง อะภินันทิตวาโรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ

เอกะทา ธัมมะราชาปิ เคลัญเญนาภิปีฬิโต จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปตวานะ สาทะรัง สัมโมทิตวา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ

ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ มะเหสินัง มัคคาหะตะกิเลสาวะ ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ


บทอภยปริตร

  • บทที่เป็นการขอให้ลางร้าย สิ่งไม่เป็นมงคล เสียงนกเสียงกา ที่ไม่เป็นมงคล บาปเคราะห์ฝันร้ายพินาศไป ด้วยพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ และสังฆานุภาพ ตอนกลางเป็นการอัญเชิญเหล่าเทพยดา ที่ได้อัญเชิญมาร่วมในงานมงคล ร่วมฟังสวด ร่วมรับสิ่งที่เป็นมงคล กลับวิมานไป และขอให้เทพยดาทั้งหลายได้ให้ทาน รักษาศีลเจริญภาวนาและตอนท้ายเป็นการ ขอให้อานุภาพของพระพุทธเจ้าพระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันต์ทั้งหมด ปกป้องคุ้มครองรักษา

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ


บทเทวตาอุยโยชนคาถา

  • บทที่ว่าด้วยการขอให้สรรพสัตว์พ้นทุกข์ และเหล่าเทวดาที่มาร่วมอนุโมทนาบุญ ขอให้กลับไป

ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา โสกัปปัตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทั้ง สัพเพ เทวานุโมทันตุ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลัง รักขันตุ สัพพะทา ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา ฯ

สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส ฯ

 

บทพุทธชัยมงคลคาถา หรือบทถวายพรพระ

  • บทที่ว่าด้วยชัยชนะ ๘ ประการ อันเป็นมงคลของพระพุทธเจ้า

พาหุงสะหัส สะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆ ระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

มาราติเร กะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกาวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฉฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ

 

บทชยปริตร

  • บทที่สวดเพื่อให้เกิดชัยมงคลในการทำพิธีมงคลต่างๆ 


มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัมหมะจาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ

 

บทภวตุ สัพพมังคลัง

  • บทที่อ้างอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย เพื่อให้เกิด สรรพมงคล เทวดาคุ้มครองรักษา

 ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา

    สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา

สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา

สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ