นับจากไทยเริ่มฉีดวัคซีนโควิด-19 เข็มแรก ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. - 14 ก.ค. 2564) รวม 13,533,717 โดส ใน 77 จังหวัด
- จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 10,163,340 ราย (จำนวนผู้ได้รับวัคซีนทั้งหมด)
- จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 3,370,377 ราย(จำนวนผู้ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์)
ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย.64(วันแรกของการฉีดวัคซีนเป็นวาระแห่งชาติ) รวม 9,433,196 โดส
- จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 7,393,093 ราย
- จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 2,040,103 ราย
ผลการดำเนินการให้บริการวัคซีนโควิด-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ข้อมูล ณ วันที่ 15 ก.ค. 2564 เวลา 08.00 น.
- ยอดผู้รับวัคซีนเพิ่ม 75,186 โดส
- ยอดผู้รับวัคซีนสะสม 4,359,207 โดส
ที่มา : ศูนย์ข้อมูล COVID-19 ,กรุงเทพมหานคร โดยสำนักงานประชาสัมพันธ์
10 ชาติอาเซียนฉีดวัคซีนโควิดแล้ว 113.71 ล้านโดส
10 ชาติในภูมิภาคอาเซียน ฉีดวัคซีนแล้วรวมจำนวน 113,711,816 โดส ได้แก่
- อินโดนีเซีย จำนวน 51,433,567 โดส (13.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac และ AstraZeneca
- ฟิลิปปินส์ จำนวน 13,196,282 โดส (8.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V และ AstraZeneca
- ไทย จำนวน 12,908,193 โดส (14.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
- มาเลเซีย จำนวน 11,788,189 โดส (24.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
- กัมพูชา จำนวน 8,862,995 โดส (29.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca และ Sinovac
- สิงคโปร์ จำนวน 6,613,124 โดส (66.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer และ Moderna
- เวียดนาม จำนวน 4,063,872 โดส (3.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca
- เมียนมา จำนวน 3,500,000 โดส (N/A* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca
- สปป.ลาว จำนวน 1,678,333 โดส (14.0%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V และ AstraZeneca
- บรูไน จำนวน 117,261 โดส (22.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ
ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
- สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (74.3%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
- บาห์เรน (71.0%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
- มัลดีฟส์ (69.5% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
- ชิลี (62.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
- อุรุกวัย (61.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
- กาตาร์ (61.0%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
- สหราชอาณาจักร (60.5%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford Moderna และ Pfizer/BioNTech)
- อิสราเอล (60.3%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
- แคนาดา (56.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford Moderna และ Pfizer/BioNTech)
- มองโกเลีย (55.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และSputnik
ที่มา : กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)