กทพ.หรือ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย แจ้งปิดเบี่ยงจราจรบนทางพิเศษเฉลิมมหานคร บริเวณสะพานพระราม 9 เพื่อดำเนินการปรับปรุงสีภายนอกเสาขึง (Pylon)
กทพ. สังกัด กระทรวงคมนาคม ได้ว่าจ้าง บริษัท อิโนเว เอ็นจิเนียริ่ง อินดัสตรี จำกัด ให้ดำเนินการปรับปรุงสีภายนอกเสาขึง (Pylon) สะพานพระราม 9 จึงมีความจำเป็นจะต้องปิดและเบี่ยงจราจร ดังนี้
เส้นทางที่ 2
ทางพิเศษศรีรัช ระยะทางรวม 38.4 กิโลเมตร ประกอบด้วย
- ส่วน A เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2536 ระยะทาง 12.4 กิโลเมตร
- ส่วน B เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2539 ระยะทาง 9.4กิโลเมตร
- ส่วน C เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2536 ระยะทาง 8 กิโลเมตร
- ส่วน D ระยะทาง 8.6 กิโลเมตร เชื่อมต่อกับส่วน A บริเวณถนนพระราม 9 ไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่บริเวณถนนศรีนครินทร์
เส้นทางที่ 3
ทางพิเศษฉลองรัช
รามอินทรา - อาจณรงค์ ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร
- ช่วงถนนรามอินทรา - ถนนลาดพร้าว
- ช่วงถนนลาดพร้าว - ถนนพระราม 9
- ช่วงถนนพระราม 9 - อาจณรงค์
- ทางแยกต่างระดับพระราม 9
เส้นทางที่ 4
ทางพิเศษบูรพาวิถี ระยะทาง 55 กิโลเมตร
- ช่วงที่ 1 บางนา - บางแก้ว
- ช่วงที่ 2 บางแก้ว - กิ่งแก้ว
- ช่วงที่ 3 กิ่งแก้ว - เมืองใหม่บางพลี
- ช่วงที่ 4 เมืองใหม่บางพลี - บางเสาธง
- ช่วงที่ 5 บางเสาธง - บางสมัคร
- ช่วงที่ 6 บางสมัคร - บางปะกง
- ช่วงที่ 7 บางปะกง – ชลบุรี
เส้นทางที่ 5
ทางพิเศษอุดรรัถยามีระยะทาง 32 กิโลเมตร
แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้
- ระยะที่ 1 แจ้งวัฒนะ - เชียงราก ระยะทางประมาณ 22กิโลเมตร
- ระยะที่ 2 เชียงราก - บางไทร ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร
เส้นทางที่ 6
- ทางพิเศษบางนา – อาจณรงค์ ระยะทาง 4.7 กิโลเมตร
เส้นทางที่ 7
- ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี - สุขสวัสดิ์) ระยะทางรวม 22.50 กิโลเมตร
เส้นทางที่ 8
- ทางพิเศษประจิมรัถยา (ทางด่วนสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) ระยะทาง 16.7 กิโลเมตร.