เช็คสิทธิประโยชน์ ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 และม.40 ครบจบทุกมาตราที่นี่

14 ส.ค. 2564 | 11:00 น.
อัปเดตล่าสุด :14 ส.ค. 2564 | 18:14 น.
166.4 k

เช็คสิทธิประโยชน์-ความคุ้มครอง ผู้ประกันตนมาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 ได้รับความคุ้มครองอะไรบ้าง ครบจบทุกมาตราที่นี่

ช่วงนี้ ผู้ประกันตนมาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 ถูกกล่าวถึงอย่างมากจากโครงการเยียวยานายจ้างและผู้ประกันตน ม.33 ม.39  และม.40 ในกิจการที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการของรัฐ ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด 29 จังหวัด ใน 9 ประเภทกิจการ ซึ่งนอกจากการรับเงินช่วยเหลือเยียวยาดังกล่าวแล้ว ผู้ประกันตนแต่ละมาตรายังได้รับความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ ดังนี้

ผู้ประกันตนมาตรา 33 

ลูกจ้างที่ยังทำงานในสถานประกอบการที่มีนายจ้าง ได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้
ว่างงาน

  • เจ็บป่วย
  • คลอดบุตร
  • สงเคราะห์บุตร
  • ทุพพลภาพ
  • ชราภาพ
  • เสียชีวิต

เช็คสิทธิประโยชน์ ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 และม.40 ครบจบทุกมาตราที่นี่

ผู้ประกันตนมาตรา 39

คือ ผู้ประกันตนโดยสมัครใจ คุณสมบัติและเงื่อนไขผู้ประกันตนมาตรา 39 ดังนี้ 

  • เคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 
  • ส่งเงินสมทบมากกว่า 12 เดือน 
  • ลาออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน

เช็คสิทธิประโยชน์ ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 และม.40 ครบจบทุกมาตราที่นี่

ผู้ประกันตนมาตรา 39 มีสิทธิประโยชน์ ดังนี้

  • เจ็บป่วย
  • คลอดบุตร 
  • สงเคราะห์บุตร
  • ทุพพลภาพ
  • ชราภาพ 
  • เสียชีวิต

ผู้ประกันตนมาตรา 40

บุคคลทั่วไปที่ไม่มีนายจ้าง อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 65 ปี อละไม่เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33, มาตรา 39

ความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ประกันสังคม

ทางเลือกที่ 1 จ่าย 70 บาท/เดือน  ผู้ประกันตนได้รับความคุ้มครอง ดังนี้

1.กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับค่าทดแทนขาดรายได้

  • ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป วันละ 300 บาท
  • ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล) ใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป  วันละ 200 บาท
  • เงื่อนการรับสิทธิ ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกัน ไม่เกิน 30 วัน/ปี
  • ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน(ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง) ครั้งละ 50 บาท

2.กรณีทุพพล รับเงินทดแทนการขาดรายได้

  • ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้รายเดือน(ขึ้นกับระยะเวลาส่งเงินสมทบของผู้ประกันตน) 500-1,000 บาท
  • ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ เป็นระยะเวลา 15 ปี
  • เสียชีวิตระหว่างทุพพลภาพ ได้รับค่าทำศพ 25,000 บาท

3.กรณีเสียชีวิต ได้รับเงินค่าทำศพ

  • ผู้จัดการศพ ได้รับค่าทำศพ 25,000 บาท
  • จ่ายเงินสมทบครบ 60 เดือนก่อนเสียชีวิต ได้รับเงินเพิ่ม 8,000 บาท

4.กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล

  • สะสมบำเหน็จชราภาพ(เงินออม)จากเงินสมทบ เดือนละ(ได้รับเมื่ออายุครบ 60 ปี และสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน) ไม่คุ้มครอง
  • จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน รับเงินเพิ่ม ไม่คุ้มครอง
  • ผู้ประกันตนจ่ายเงินออมเพิ่มได้ ไม่เกินเดือนละ ไม่คุ้มครอง

5.กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับรายเดือน

  • ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรแรกเกิด ถึง 6 ปีบริบูรณ์(จ่ายเงินสมทบ 24 ใน 36 เดือน) ไม่คุ้มครอง

ทางเลือกที่ 2 จ่าย 100 บาท/เดือน  ผู้ประกันตนได้รับความคุ้มครอง ดังนี้

1.กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับค่าทดแทนขาดรายได้

  • ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป วันละ 300 บาท
  • ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล) ใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป  วันละ 200 บาท
  • เงื่อนการรับสิทธิ ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกัน ไม่เกิน 30 วัน/ปี
  • ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน(ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง) ครั้งละ 50 บาท

2.กรณีทุพพล รับเงินทดแทนการขาดรายได้

  • ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้รายเดือน(ขึ้นกับระยะเวลาส่งเงินสมทบของผู้ประกันตน) 500-1,000 บาท
  • ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ เป็นระยะเวลา 15 ปี
  • เสียชีวิตระหว่างทุพพลภาพ ได้รับค่าทำศพ 25,000 บาท

3.กรณีเสียชีวิต ได้รับเงินค่าทำศพ

  • ผู้จัดการศพ ได้รับค่าทำศพ 25,000 บาท
  • จ่ายเงินสมทบครบ 60 เดือนก่อนเสียชีวิต ได้รับเงินเพิ่ม 8,000 บาท

4.กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล

  • สะสมบำเหน็จชราภาพ(เงินออม)จากเงินสมทบ เดือนละ(ได้รับเมื่ออายุครบ 60 ปี และสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน) 50 บาท
  • จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน รับเงินเพิ่ม ไม่คุ้มครอง
  • ผู้ประกันตนจ่ายเงินออมเพิ่มได้ ไม่เกินเดือนละ ออมเพิ่มได้ 1,000 บาท

5.กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับรายเดือน

  • ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรแรกเกิด ถึง 6 ปีบริบูรณ์(จ่ายเงินสมทบ 24 ใน 36 เดือน) ไม่คุ้มครอง

ทางเลือกที่ 3 จ่าย 300 บาท/เดือน  ผู้ประกันตนได้รับความคุ้มครอง ดังนี้

1.กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับค่าทดแทนขาดรายได้

  • ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป วันละ 300 บาท
  • ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล) ใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป  วันละ 200 บาท
  • เงื่อนการรับสิทธิ ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกัน ไม่เกิน 90 วัน/ปี
  • ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน(ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง) ไม่คุ้มครอง

2.กรณีทุพพล รับเงินทดแทนการขาดรายได้

  • ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้รายเดือน(ขึ้นกับระยะเวลาส่งเงินสมทบของผู้ประกันตน) 500-1,000 บาท
  • ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ เป็นระนะเวลา ตลอดชีวิต
  • เสียชีวิตระหว่างทุพพลภาพ ได้รับค่าทำศพ 50,000 บาท

3.กรณีเสียชีวิต ได้รับเงินค่าทำศพ

  • ผู้จัดการศพ ได้รับค่าทำศพ 50,000 บาท
  • จ่ายเงินสมทบครบ 60 เดือนก่อนเสียชีวิต ไม่คุ้มครอง

4.กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล

  • สะสมบำเหน็จชราภาพ(เงินออม)จากเงินสมทบ เดือนละ(ได้รับเมื่ออายุครบ 60 ปี และสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน) 150 บาท
  • จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน รับเงินเพิ่ม 10,000 บาท
  • ผู้ประกันตนจ่ายเงินออมเพิ่มได้ ไม่เกินเดือนละ ออมเพิ่มได้ 1,000 บาท

5.กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับรายเดือน

  • ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรแรกเกิด ถึง 6 ปีบริบูรณ์(จ่ายเงินสมทบ 24 ใน 36 เดือน) คนละ 200 บาท(คราวละไม่เกิน 2 คน)

เช็คสิทธิประโยชน์ ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 และม.40 ครบจบทุกมาตราที่นี่

ด้านมาตรการเยียวยานายจ้างและลูกจ้างผู้ประกันตน ม33 ม39 ม40 ในพื้นที่ควบคุมสูงสุด 29 จังหวัด 9 ประเภทกิจการ สามารถตรวจสอบสิทธิเยียวยาได้ทางเวปไซต์สำนักงานประกันสังคม https://www.sso.go.th/eform_news/

เช็คสิทธิประโยชน์ ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 และม.40 ครบจบทุกมาตราที่นี่ ที่มา : สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน , คู่มือผู้ประกันตน